วันศุกร์ที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 16



วิชา  การจัดประะสบการณ์การศึกษาเเบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย 
กลุ่ม  101  วันพฤหัสบดี  เวลา  8.30 - 12.20  น.
ผู้สอน อาจารย์ตฤณ  เเจ่มถิน



ความรูที่ได้รับ

ในสัปดาห์นี้ ไม่มรการเรียนการสอน แต่วันนี้อาจารย์ให้มาสอบร้องเพลง
จากการจับฉลากขึ้นมา จับได้เพลงอะไรก็ร้องเพลงนั้น โดยมีคะแนนคือ
ไม่ดูเนื้อร้อง = 5 คะแนน
ดูเนื้อร้อง = 4 คะแนน
ดูเนื้อร้องพร้อมให้เพื่อนร้องพร้อมกัน = 3 คะแนน


 

หมายเหตุ  ในวันนี้ดิฉันร้องเพลงได้  4 คะแนน เต็ม 5

บันทึกอนุทินครั้งที่ 15  



วิชา  การจัดประะสบการณ์การศึกษาเเบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย 
กลุ่ม  101  วันพฤหัสบดี  เวลา  8.30 - 12.20  น.
ผู้สอน อาจารย์ตฤณ  เเจ่มถิน



ความรู้ที่ได้รับ

โปรแกรมการศึกษาเฉพาะบุคคล
แผน IEP
- แผนการศึกษาที่ร่างขึ้น
- เพื่อให้เด็กพิเศษแต่ละคนได้รับการสอน และการช่วยเหลือฟื้นฟู
- การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็ก
- โดยระบุเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดการใช้แผนและวิธีการวัดประเมินผล
การเขียนแผน IEP
- คัดแยกเด็กพิเศษ
- ครูต้องรู้ว่าเด็กมีปัญหาอะไร
- ประเมินพัฒนาการเด็กเป็นระยะ
- เด็กสามารถทำอะไรได้ / เด็กไม่สามารถทำอะไรได้
- แล้วจึงเริ่มเขียนแผน IEP
IEP ประกอบด้วย
- ข้อมูลส่วนตัวของเด็ก
- ระบุว่าเด็กมีความจำเป็นต้องได้รับบริการพิเศษอะไรบ้าง
- การระบุความสามารถของเด็กในขณะปัจจุบัน
- เป้าหมายระยาวประจำปี ระยะสั้น
- ระบุ วัน เดือน ปี ที่เริ่มทำการสอน
- วิธีการประเมินผล
ประโยชน์ต่อเด็ก
- ได้เรียนรู้ความสามารถของตน
- ได้มีโอกาสพัฒนาตามศักยภาพ
- ได้รับการศึกษาและฟื้นฟูอย่างต่อเนื่องเหมาะสม
ประโยชน์ต่อครู
- เป็นนวทางในการจัดการเรียนสอนที่ตรงกับความสามารถของความต้องการของเด็ก
- เป็นแนวทางในการเลือกสื่อการสอนให้เหมาะกับเด็ก
- ปรับเปลี่ยนได้เมื่อความต้องการเปลี่ยนแปลง
- เป็นแนวทางในการประเมินผลการเรียนและการเขียนรายงานพัฒนาการความก้าวหน้าของเด็ก
- ตรวจสอบและประเมินได้เป็นระยะ
ประโยชน์ต่อผู้ปกครอง
- ได้มีส่วนร่วมในการจัดทำแผนการเรียนรายบุคคล
- ทราบร่วมกับครูว่าจะฝึกลูกของตนอย่างไร
- เกิดความร่วมมือในการพัฒนาเด็ก มีการติดต่อสื่อสารกันอย่างน่อเนื่อง
ขั้นตอนการจัดทำแผนการศึกษารายบุคคล
1. การรวบรวมข้อมูล
- รายงานทางการแพทย์
- รายงานการประเมินด้านต่างๆ
- บันทึกจากผู้ปกครอง ครู และผู้ที่เกี่ยวข้อง
2. การจัดทำแผน
- ประชุมผู้ที่เกี่ยวข้อง
- กำหนดจุดมุ่งหมายระยะยาวระยะสั้น
- กำหนดโปรแกรมและกิจกรรม
กำหนดจุดมุ่งหมาย
- ระยะยาว
- ระยะสั้น
จุดมุ่งหมายระยะยาว
- กำหนดให้ชัดเจน
-น้องนุ่มช่วยเหลือตนเองได้
-น้องดาวร่วมมือกับผู้อื่นได้
-น้องริวเข้ากับเพื่อนคนอื่นๆได้
จุดมุ่งหมายระยะสั้น
- ตั้งให้อยู่ภายใต้จุดมุ่งหมายของเด็ก
- เป็นพฤติกรรมที่เด็กสามารถทำได้ในระยะ 2-3วัน
- จะสอนใคร
- พฤติกรรมอะไร
- เมื่อไหร่ที่ไหน
- พฤติกรรมนั้นต้องดีขนาดไหน
3. การใช้แผน
- เมื่อแผนเสร็จสมบูรณ์ ครูจะนำไปใช้โดยใช้แผนระยะสั้น
- นำมาทำเป็นจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
- แยกย่อยขั้นตอนการสอนให้เหมาะกับเด็ก
- จัดเตรียมสื่อและจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
4. การประเมินผล
- โดยทั่วไปจะประเมินภาคเรียนละครั้ง หรือย่อยกว่านั้น
- ควรมีการกำหนดวิธีการประเมิน และเกณฑ์วัด
- การประเมินในแต่ละทักษะหรือแต่ละกิจกรรรม อาจใช้วิธีวัดและกำหนดเกณฑ์แตกต่างกัน
การทำ IEP
1. การรวบรวมข้อมูล
2. การจัดทำแผน
3. การใช้แผน
4. การประเมิน

วันนี้อาจารย์ให้แบ่งกลุ่มเขียนแผน กลุ่มละ 5 คน (เนื่องจากดิฉันมีธุระต้องไปทำเลยโดนตัดคะแนนไปครึ่งหนึ่งของที่เพื่อนได้)


บันทึกอนุทินครั้งที่ 14



วิชา  การจัดประะสบการณ์การศึกษาเเบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย 
กลุ่ม  101  วันพฤหัสบดี  เวลา  8.30 - 12.20  น.
ผู้สอน อาจารย์ตฤณ  เเจ่มถิน

หมายเหตุ   เนื่องจากวันนี้ไม่มีการเรียนการสอนอาจารย์ให้ไปศึกษาด้วยตนเองนอกห้องเรียน
 

บันทึกอนุทินครั้งที่ 13  



วิชา  การจัดประะสบการณ์การศึกษาเเบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย 
กลุ่ม  101  วันพฤหัสบดี  เวลา  8.30 - 12.20  น.
ผู้สอน อาจารย์ตฤณ  เเจ่มถิน


ความรู้ที่ได้รับ

การควบคุมกล้ามเนื้อเล็ก
- การกรอกน้ำ ตวงน้ำ
- ต่อบล็อก
- ศิลปะ
- มุมบ้าน
- ช่วยเหลือตนเอง
ตัวอย่างอุปกรณ์สำหรับเด็กพิเศษ
- ลูกปัดไม้ขนาดใหญ่
-รูปต่อที่มีจำนวนชิ้นไม่มาก
ความจำ
- จากการสนทนา
- เมื่อเช้าหนูทานอะไร
- แกงจืดที่เรากินใส่อะไรบ้าง
- จำตัวละครในนิทาน
- จำชื่อครู เพื่อน
- เล่นเกมทายของที่หายไป

ทักษะคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
การวางแผนการเตรียมพื้นฐานทางวิชาการ
- จัดกลุ่มเด็ก
- เริ่มต้นเรียนรู้โดยใช้ช่วงเวลาสั้นๆ
- ให้งานเด็กแต่ละคนอย่างชัดเจนว่าต้องทำที่ไหน
- ติดชื่อเด็กตามที่นั่ง
- ใช้อุปกรณ์ที่เด็กคุ้นเคย
- ใช้อุปกรณ์ที่เด็กคุ้นเคย
- บันทึกว่าเด็กชอบอะไรที่สุด
- รู้ว่าเมื่อไหร่จะเปลี่ยนงาน
- มีอุปกรณ์ไว้สับเปลี่ยนใกล้มือ
- เตรียมทุกอย่างให้พร้อมก่อนเด็กมาถึง
- พูดในทางที่ดี
- จัดกิจกรรมให้เด็กได้เคลื่อนไหว
- ทำบทเรียนให้สนุก
การส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ



































4. ทักษะพื้นฐานทางการเรียน
เป้าหมาย

- การช่วยให้เด็กแต่ละคนเรียนรู้ได้
- มีความรู้สึกดีต่อตนเอง
- เด็กรู้สึกว่า “ฉันทำได้
-พัฒนาความกระตือรือร้น อยากรู้อยากเห็น
-อยากสำรวจ อยากทดลอง

ช่วงความสนใจ
- ต้องมีก่อนการเรียนรู้อื่นๆ
- จดจ่อต่อกิจกรรมในช่วงเวลาหนึ่งได้นานพอสมควร

การเลียนแบบ
เด็กพิเศษเรียนรู้ได้ดีโดยการเลียนแบบเพื่อน พ่อแม่ และครู

การทำตามคำสั่ง คำแนะนำ
-เด็กได้ยินสิ่งที่ครูพูดชัดหรือไม่
- เด็กเข้าใจคำศัพท์ที่ครูใช้หรือไม่- คำสั่งยุ่งยากซับซ้อนไปหรือไม่

การรับรู้ การเคลื่อนไหว
- ได้ยิน เห็น สัมผัส ลิ้มรส กลิ่น
- ตอบสนองอย่างเหมาะสม

การประเมิน

ประเมินตนเอง
1.วันนี้เข้าเรียนตรงเวลา
2.ตั้งใจเรียน ฟังเวลาที่อาจารย์ เเเต่มีเเอบคุยบ้างเล็กน้อย
ประเมินเพื่อนๆ
1.คุยกันบ้างครั้ง
2.ตั้งใจทำกิจกรรมดีมาก
ประเมินอาจารย์
1.อาจารย์อธิบายชัดเจนและเข้าใจดีมาก
2.ยกตัวอย่างกิจกรรมได้เข้าใจดีมาก





บันทึกอนุทินครั้งที่ 12




วิชา  การจัดประสบการณ์การศึกษาเเบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
กลุ่ม 101  วันพฤหัสบดี  เวลา  8.30-12.20  น.
ผู้สอน อาจารย์ตฤณ   เเจ่มถิน   

หมายเหตุ : วันนี้ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากอาจารย์ให้นักศึกษาไปเข้าร่วมกิจกรรมของมหาวิทยาลัย

บันทึกอนุทินครั้งที่ 11  



วิชา  การจัดประะสบการณ์การศึกษาเเบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย 
กลุ่ม  101  วันพฤหัสบดี  เวลา  8.30 - 12.20  น.
ผู้สอน อาจารย์ตฤณ  เเจ่มถิน 

หมายเหตุ      วันนี้ไม่มีการเรียนการสอนมาสอบข้อเขียนกันในห้องเรียน  

วันพฤหัสบดีที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 10  



วิชา  การจัดประะสบการณ์การศึกษาเเบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย 
กลุ่ม  101  วันพฤหัสบดี  เวลา  8.30 - 12.20  น.
ผู้สอน อาจารย์ตฤณ  เเจ่มถิน 



ความรู้ที่ได้รับ

 การส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ  
ทักษะการช่วยเหลือตนเอง
- เด็กต้องมีอิสระ ทำได้ด้วยตนเอง
-การกินอยู่ การเข้าห้องน้ำ
-การแต่งตัว กิจวัตรต่างๆในชีวิตประจำวัน
การสร้างความอิสระ
- เด็กอยากช่วยเหลือตนเอง
 - อยากทำงานตามความสามารถ
- เด็กเลียนแบบการช่วยเหลือตนเองจากเพื่อน เด็กที่โตกว่า และผู้ใหญ่
ความสำเร็จเป็นสิ่งสำคัญ
- การได้ทำด้วยตนเอง 
 - เชื่อมั่นในตนเอง
 - เรียนรู้ความรู้สึกที่ดี
หัดให้เด็กทำเอง
- ไม่ช่วยเหลือเกินความจำเป็น (ใจแข็ง)
- ผู้ใหญ่มักทำสิ่งต่างๆให้เด็กมากเกินไป
- ทำให้แม้กระทั่งสิ่งที่เด็กสามารถทำได้เองหากให้เวลาเขาทำ
- “ หนูทำช้า ” “ หนูยังทำไม่ได้ ”
จะช่วยเมื่อไหร่
- เด็กก็มีบางวันที่ไม่อยากทำอะไร , หงุดหงิด , เบื่อ , ไม่ค่อยสบาย
- หลายครั้งเด็กจะขอความช่วยเหลือในสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปแล้ว
- เด็กรู้สึกว่ายังมีผู้ใหญ่ที่พึ่งได้ แต่ต้องได้รับความช่วยเหลือเฉพาะสิ่งที่เด็กต้องการ
- มักช่วยเด็กในช่วงกิจกรรม
 ทักษะการช่วยเหลือตนเอง  (อายุ 3-4 ปี)
การแต่งตัว
- ถอดเสื้อได้เรียบร้อย รวดเร็ว
- ใส่เสื้อ ,ถอดกระดุม ,ซิปได้คล่อง
- เก็บเสื้อแขวนใส่ตู้ได้
การกินอาหาร
- ใช้ช้อนส้อมได้คล่อง
- รินน้ำจากเหยือกใส่แก้วได้
- กินอาหารรวมกับคนอื่นในครอบครัวได้ แต่อาจอืดอาด
การอาบน้ำและการเข้าห้องน้ำ
- ชอบอาบน้ำเอง
- เล่นน้ำในอ่างจะไม่ค่อยเลิก
- อาบไม่สะอาด
- ตื่นนอนตอนกลางวันและขอให้พาไปห้องน้ำ
ทั่วไป
- บอกอายุ เพศ ชื่อนามสกุล ตนเองได้
- ทำตามคำสั่ง 2-3 อย่างได้
- แยกจากพ่อแม่ไปโรงเรียนได้
ลำดับขั้นในการช่วยเหลือตนเอง
- แบ่งทักษะการช่วยเหลือตนเองออกเป็นขั้นย่อยๆ
- เรียงลำดับตามขั้นตอน
(เช่นการเข้าส้วม)
1.) เข้าไปในห้องส้วม 
 2.) ดึงกางเกงลงมา 
 3.) ก้าวขึ้นไปนั่งบนส้วม
4.) ปัสสาวะหรืออุจจาระ 
 5.) ใช้กระดาษชำระเช็ดก้น
 6.) ทิ้งกระดาษชำระในตะกร้า
7.) กดชักโครกหรือตักน้ำราด 
 8.) ดึงกางเกงขึ้น 
 9.) ล้างมือ 
 10.) เช็ดมือ
11.) เดินออกจากห้องส้วมการ


กิจกรรม

1 แจกกระดาษคนละ 1 แผ่น
2 แจกสีเทียนตามความต้องการของแต่ละคน
3 ให้ระบายสีให้เป็นวงกลมลงบนกระดาษตามอิสระ
4 จากนั้นตั้ดกระดาษให้เป็นวงกลมตามสีที่เราระบาย
5 อาจารย์บอกลักษณะนิสัยของแต่ละคนตามผลงาน
6 อาจารย์เราต้นไม้มาแปะไว้หน้ากระดานให้ทุกคนนำผลงานของตัวเองไปแปะเป็นใบไม้ตสมจินตนาการของตัวเอง


หมายเหตุ    วันนี้ดิฉันไม่ได้เข้าเรียนเนื่องจากไม่สบาย






บันทึกอนุทินครั้งที่ 9 




วิชา  การจัดประสบการณ์การศึกษาเเบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
กลุ่ม 101  วันพฤหัสบดี  เวลา  8.30-12.20  น.
ผู้สอน อาจารย์ตฤณ   เเจ่มถิน   




ความรู้ที่ได้รับ



- การส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ

ทักษะภาษา

การวัดความสามารถทางภาษา
เข้าใจสิ่งที่ผู้อื่นพูดไหม
ตอบสนองเมื่อมีคนพูดด้วยไหม
ถามหาสิ่งต่างๆไหม
บอกเล่าเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นไหม
ใช้คำศัพท์ของตัวเองกับเด็กคนอื่นไหม
การออกเสียงผิด พูดไม่ชัด
การพูดตกหล่น
การใช้เสียงหนึ่งแทนอีกเสียง
ติดอ่าง
การปฏิบัติของครูและผู้ใหญ่
ไม่สนใจการพูดซ้ำหรือการออกเสียงไม่ชัด
ห้ามบอกเด็กว่า  “พูดช้าๆ”   “ตามสบาย”   “คิดก่อนพูด”
อย่าขัดจังหวะขณะเด็กพูด
อย่าเปลี่ยนการใช้มือข้างที่ถนัดของเด็ก
ไม่เปรียบเทียบการพูดของเด็กกับเด็กคนอื่น
เด็กที่พูดไม่ชัดอาจเกี่ยวข้องกับการได้ยิน
ทักษะพื้นฐานทางภาษา
ทักษะการรับรู้ภาษา
การแสดงออกทางภาษา
การสื่อความหมายโดยไม่ใช้คำพูด


อาจารย์ให้ทำกิจกรรม 
1. อาจารย์แจกกระดาษและสี
2. อาจารย์ให้จับคู่กันแล้ววาดรู้ลงบนกระดาษเป็นเส้นตรงโดยไม่ให้เส้นขาด
3. จากนั้นให้ระบายสีช่องที่ปิด
4.ผลงานที่ได้มารวมกัน
5. จากนั้นอาจารย์บอกลักษณะนิสียจากภาพที่วาด

การประเมิน

ประเมินตนเอง
1.วันนี้เข้าเรียนตรงเวลา
2.ตั้งใจเรียน ฟังเวลาที่อาจารย์ เเเต่มีเเอบคุยบ้างเล็กน้อย
ประเมินเพื่อนๆ
1.คุยกันบ้างครั้ง
2.ตั้งใจทำกิจกรรมดีมาก
ประเมินอาจารย์
1.อาจารย์อธิบายชัดเจนและเข้าใจดีมาก
2.ยกตัวอย่างกิจกรรมได้เข้าใจดีมาก





บันทึกอนุทินครั้งที่  8  



วิชา  การจัดประสบการณ์การศึกษาเเบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
กลุ่ม 101  วันพฤหัสบดี  เวลา  8.30 -  12.20 น.
ผู้สอน อาจารณ์ ตฤณ  เเจ่มถิน 



หมายเหตุ เนื่องจากวันนี้อาจารย์ให้ไปหาความรู้เพิ่มเติมนอกห้องเรียนจึงไม่มีการเรียนการสอนค่ะ

วันศุกร์ที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 7



วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาเเบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
กลุ่ม 101  วันพฤหัสบดี  เวลา 8.30-12.20  น.
ผู้สอน อาจารย์ ตฤณ  เเจ่มถิน


หมายเหตุ  วันนี้ไม่มีการเรียนการสอนเพราะเป็นวันสอบกลางภาค
บันทึกอนุทินครั้งที่ 6 


วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาเเบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
กลุ่ม 101 วันพฤหัสบดี  เวลา 8.30-12.20 น.
ผู้สอน อาจารย์ตฤณ  เเจ่มถิน




   วันนี้มีการทบทวนเนื้อหาต่อจากสัปดาห์ที่เเล้วเพิ่มเติม   เเละจากนั้นอาจารย์มีเเบบทดสอบให้นักศึกษาผ่อนคลายมีความสุุขก่อนที่จะเริ่มเข้าสู่บทเรียนของสัปดาห์นี้ เรื่องที่เรียนในสัปดาห์นี้คือ เรื่องการส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ


การส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ

1.ทักษะทางสังคม
-เด็กพิเศษที่ขาดทักษะทางสังคมไม่ได้มีสาเหตุมาจากพ่อแม่
-การอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดีไม่ได้เป็นเครื่องรับประกันว่าเด็กจะมีพัฒนาการต่างๆอย่างมีความสุข

กิจกรรมการเล่น
-การเล่นเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งต่อการเรียนรู้ทักษะทางสังคม
-เด็กจะสนใจกันเองโดยอาศัยการเล่นเป็็นสื่อ
-ในช่วงแรกๆเด็กจะไม่มองเด็กคนอื่นเป็นเพื่อน แต่เป็นอะไรบางอย่างที่น่าสำรวจ สัมผัส ผลักดึง

ยุทธศาสตร์การสอน
-เด็กพิเศษหลายๆคนไม่รู้วิธีเล่น ไม่รู้ว่าจะเล่นอย่างไร
-ครูเริ่มต้นจากการสังเกตเด็กเเต่ละคนอย่างเป็นระบบ
-จะบอกได้ว่าเด็กมีทักษะการเล่นเเบบใดบ้าง
-ครูจดบันทึก
-ทำเเผน IEP

การกระตุ้นการเรียนเเบบเเละการเอาอย่าง
-วางเเผนกิจกรรมการเล่นไว้หลายๆอย่าง
-คำนึงถึงเด็กทุกๆคน
-ให้เด็กเล่นเป็นกลุ่มเล็กๆ 2-4 คน
-เด็กปกติทำหน้าทีเหมือน ครู ให้เด็กพิเศษ


ครูปฏิบัติอย่างไรขณะเด็กเล่น
-อยู่ใกล้ๆ เเละเฝ้ามองอย่างสนใจ
-ยิ้มเเละพยักหน้าให้ ถ้าเด็กหันมาหาครู
-ไม่ชมเชยหรือสนใจเด็กมากเกินไป


การให้เเรงเสริมทางสังคมในบริบทที่เด็กเล่น
-ครูพูดชักชวนให้เด็กร่วมเล่นกับเพื่อน
-ทำโดย การพูดนำของครู


ช่วยเด็กทุกคนให้รู้กฏเกณฑ์
-ไม่ง่ายสำหับเด็กพิเศษ
-การให้โอกาสเด็ก
-เด็กพิเศษต้องเรียนรู้สิทธิต่างๆเหมือนเพื่อนในห้อง
-ครูต้องไม่ใช้ความบกพร่องของเด็กพิเศษเป็นเครื่องต่อรอง

***หลังจากที่เรียนเรื่องนี้เสร็จเเล้วอาจารย์ก็มีกิจกรรมให้ทำคือ ศิลปะเเละดนตรีบำบัด
-จับคู่ 2 คน ต่อกระดาษ 1 เเผ่น เลือกสีคนที่ 1 เเท่งที่คิดว่าสวย
-ตกลงกันมาใครจะเป็นเด็กพิเศษ ใครจะเป็นเด็กปกติเเละใครจะเป็นเส้นตรงใครจะเป็นจุด
-จากนั้นอาจารย์เปิดเพลง ให้คนที่ขีดเส้นตรงขีดไปตามความสึกบวกกับจังหวะเพลงเร็ว-ช้า
-คนที่เป็นจุดก็ให้จุดตรงที่เป็นวงกลม จากคนที่ขีดเส้นได้ขีดเอาไว้
-เมื่อเพลงจบให้หยุดขีดเเละจุดทันที
-จากนั้นก็ดูว่าเส้นที่เราขีดเส้นเเละจุดนั้นเกิดเป็นภาพอะไร ช่วยกันมองว่าเป็นภาพอะไรเเละให้วาดรูปตามเส้นี่เกิดภาพพร้อมระบายสีให้สวยงาม

ภาพที่ทำกิจกรรม





การประเมิน

ประเมินตนเอง
1.วันนี้เข้าเรียนตรงเวลา
2.ตั้งใจเรียน ฟังเวลาที่อาจารย์ เเเต่มีเเอบคุยบ้างเล็กน้อย
3.ช่วยเพื่อนวาดรูประบายสี 


ประเมินเพื่อนๆ
1.เพื่อนๆตั้งใจฟังอาจารย์ดีมาก
2.มีการซักถามอาจารย์



ประเมินอาจารย์
1.อาจารย์อธิบายเข้าใจดี
2.ยกตัวอย่างได้ชัดเจน เห็นภาพ
3.มีกิจกรรมสนุกๆให้ทำก่อนเรียน ผ่อนคลายดีค่ะ